Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39856
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ-
dc.contributor.advisorศิริพงษ์ ลดาวัลย์ ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorสุนทรี โตวัฒน์นิมิตen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T15:53:50Z-
dc.date.available2016-12-12T15:53:50Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39856-
dc.description.abstractThe objective of this study was to evaluate the academic competency of graduates of the Faculty of Political Science and Public Administration at Chiang Mai University. This academic competency was divided into two parts: core competency, and functional competency. The study aimed to analyze the compatibility of the competency of the graduates to the needs of employers. This study also aimed to make use of the comments of the employers to improve the academic quality of graduates of the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University. The hypothesis of this study were graduates from the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University have core competency compatible to the needs of employers. Graduates from the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai University have functional competency compatible to the needs of employers. The core competency needed by employers of the government sector and private sector was not different. The core competency of the graduates who work in the government sectors and the private sectors were not different Students from two graduate degree programs comprised the two main sample groups. The first group consisted of graduates who majored in Politics and Government, whereas the second group came from graduates in the Public Administration program. Questionnaires were used as the main tool of data collection. The data collected was analyzed by means of statistical analysis methods. It was found that the graduates’ core competency in knowledge and skill of management was evaluated as “moderate” while the graduates’ skill in technique, such as the use of computer and their personal behavior, were evaluated as “high”. However, it was also found that the graduates’ core competency was not compatible with the employers’ needs, while functional competency was evaluated “high” in every aspect. The graduates’ overall performance, however, was found to be both “high” and “moderate”. It was found that the desirable competency proposed by both employers and graduates in each competency aspect was not different, which was consistent with the hypothesis. This, however, did not include graduates whose work was concerned with budgetary and financial aspects. They had different functional competencies, which was not consistent with the hypothesis of this research. This research supports the idea that the Faculty of Political Science and Public Administration should provide the undergraduates with more relevant knowledge and training so that they can effectively apply their knowledge in their work. The graduates who are equipped with knowledge relevant to their career field will be in greater demand by various agencies. This will in turn indicate that the Faculty of Political Science and Public Administration department has achieved its goal in producing undergraduates with relevant knowledge and skill in their future career fields. These undergraduates will eventually become more capable graduates who can compete in the evolving labor market and help their country achieve development goals and prosperity.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมรรถนะการทำงานen_US
dc.subjectบัณฑิตen_US
dc.titleการประเมินสมรรถนะการทำงานของบัณฑิตคณะรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWork competency evaluation on graduates of the Faculty of Political Science and Public Administration, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc331-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะรัฐศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะรัฐประศาสนศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashสมรรถภาพในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashบัณฑิต -- การจ้างงาน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 331 ส454ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินระดับสมรรถนะหลักและสมรรถนะตามตำแหน่งงาน ของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิเคราะห์ความสอดคล้องของสมรรถนะของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต และเพื่อศึกษาข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยมีสมมติฐานการศึกษา คือ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะรัฐศาสตร์และ รัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีสมรรถนะหลักสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีสมรรถนะตามตำแหน่งงานสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตสมรรถนะหลักที่หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนต้องการไม่มีความแตกต่างกัน และสมรรถนะหลักของบัณฑิตที่ทำงานในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนไม่มีความแตกต่างกัน กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือบัณฑิตจากสาขาวิชาการเมืองและการปกครอง และสาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษารวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เนื้อหาและการวิเคราะห์เชิงสถิติ ผลสรุปของการศึกษาพบว่าผู้ใช้บัณฑิตได้ประเมินสมรรถนะหลักของบัณฑิตในด้านความรู้ ทักษะด้านการบริหารอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนทักษะด้านเทคนิค เช่น ทักษะด้านการใช้คอมพิวเตอร์และคุณลักษณะส่วนบุคคลอยู่ในระดับสูง ซึ่งบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่มีสมรรถนะหลักไม่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ทั้งนี้ผู้ใช้บัณฑิตได้ประเมินระดับสมรรถนะตามตำแหน่งงานที่หน่วยงานต้องการอยู่ในระดับสูงทุกด้าน ส่วนระดับสมรรถนะตามตำแหน่งงานของบัณฑิตพบว่ามีทั้งอยู่ในระดับสูงและระดับปานกลาง ทั้งนี้ พบว่าระดับสมรรถนะตามตำแหน่งงานที่หน่วยงานต้องการและของบัณฑิตไม่แตกต่างกัน ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ยกเว้นบัณฑิตที่ปฏิบัติงานด้านจัดทำงบประมาณ/การเงิน มีระดับสมรรถนะตามตำแหน่งงานแตกต่างกัน ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ดังนั้น คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ควรให้ความสำคัญต่อการพัฒนาสมรรถนะ โดยให้ความรู้และการฝึกอบรมซึ่งเป็นการสร้างประสบการณ์ให้แก่บัณฑิต เพื่อที่จะได้นำประสบการณ์และความรู้ที่ได้ไปใช้ในการทำงานจริงและสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เมื่อบัณฑิตมีสมรรถนะสูงแล้วย่อมเป็นที่ต้องการของหน่วยงานต่างๆ เมื่อเป็นเช่นนั้นก็ถือว่าคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ บรรลุถึงวัตถุประสงค์ ที่วางไว้คือ คณะรัฐศาสตร์ฯได้ผลิตและพัฒนาบัณฑิตที่มีความรู้และความชำนาญทางด้านการเมืองการปกครองและด้านรัฐประศาสนศาสตร์ให้เข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมีสมรรถนะและมีศักยภาพ เพื่อตอบสนองการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT181.5 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX642.59 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1274.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2492.32 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3278.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4756.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5289.02 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT167.82 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER589.33 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE374.21 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.