Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนีย์ เงินยวง-
dc.contributor.authorปรเมศวร์ โตศิลากุลen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T15:50:44Z-
dc.date.available2016-12-12T15:50:44Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39855-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to investigate the relationship between factors that are related to life skills class defined by two levels regarding the level of the students factors which are self-concept, achievement motivation to study, democratic parenting, personalityity and classroom-level factors which are environment, classroom environment. This study was also conducted in order to create an equation predicting factors that relate to life skill at mathayom suksa 3 students in The Office Secondary Educational Service Office Area 34 (Chiangmai). The sample was 922 students from 34 classrooms in 1st semester of the year 2014. The sample was selected by the Multi – stage random sampling technique. Data collection instrument included eight series of questionnaires which focused on 1) students’ self-concept, 2) achievement motivation to study, 3) democratic parenting, 4) personality and classroom-level factors which are 5) environment, 6) classroom environment , 7) life skills with their validity of .860 .831 .933 .826 .886 .839 and .892 accordingly. The data were systematically analyzed by using computer program. The findings of the study were as follows : 1. In terms of student-level factors, it was stated that elf-concept, achievement motivation to study, democratic parenting, personality have positive relationship with life skill and it was statistically significant at .05 level. Self-concept has the most relationship (.607), democratic parenting (.556) and personality (.524) respectively. Relationship in family has the least relationship (.100) 2. In terms of classroom-level factors, it was discovered that environment and classroom environment have positive relationship with the statistical significance at .05. The correlation coefficient is .585 and .487 respectively. 3. The predictive equation for the Life Skills of students was presented in the regression equation form as follows: Micro-Level Analysis ; Null Model : Within – unit Model : SKILL,ij = 3.636 + eij Between – unit Model : b01 = 3.842 + U0j Simple Model : Within – unit Model : SKILL,ij = 3.842 + 0.416SELF + 0.261ACHI + 0.047PER Between – unit Model : b01 = 3.842 + U0j bSELF = 0.416 + U0j bACHI = 0.261 + U0j bPER = 0.047 + U0j Standard Score : ZSKILL, = 0.391USELF + 0.039UACHI + 0.219UPER Macro-Level Analysis ; Hypothetical Model : Within – unit Model : SKILL,ij = 3.842 + 0.416SELF + 0.261ACHI + 0.047PER Between – unit Model : b01 = 3.842 + 0.279ENVI + 0.063CLASS bSELF = 0.416 + 0.448ENVI + 0.302CLASS bACHI = 0.261 + 0.478ENVI + 0.318CLASS bPER = 0.047 + 0.880ENVI + 0.033CLASS Standard Score : ZSKILL, = 0.625UENVI + 0.534UCLASSen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการวิเคราะห์พหุระดับen_US
dc.subjectทักษะชีวิตen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาen_US
dc.titleการวิเคราะห์พหุระดับของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeMultilevel analysis of factors related to life skills of Mathayom Suksa 3 studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc302.14-
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34-
thailis.controlvocab.thashทักษะชีวิต-
thailis.controlvocab.thashทักษะทางสังคม-
thailis.controlvocab.thashความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนมัธยมศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 302.14 ป175ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทักษะชีวิตโดยกำหนดเป็น 2 ระดับ คือปัจจัยระดับนักเรียน ได้แก่ อัตมโนทัศน์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย และบุคลิกภาพ และปัจจัยระดับห้องเรียน ได้แก่ สิ่งแวดล้อม บรรยากาศในห้องเรียน และเพื่อสร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับทักษะชีวิตของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 (เชียงใหม่) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 922 คน จาก 34 ห้องเรียน ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multistage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 1) แบบวัดอัตมโนทัศน์ 2) แบบวัดบุคลิกภาพ 3) แบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย 4) แบบสอบถามสิ่งแวดล้อม 5) แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 6) แบบสอบถามบรรยากาศในชั้นเรียน และ7) แบบประเมินสมรรถนะสำคัญ (ทักษะชีวิต) ซึ่งแบบสอบถามและแบบวัดแต่ละฉบับมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .860 .831 .933 .826 .886 .839 และ .892 ตามลำดับ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ปัจจัยระดับนักเรียน ได้แก่ อัตมโนทัศน์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับทักษะชีวิต อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยอัตมโนทัศน์ มีความสัมพันธ์มากที่สุด มีค่าเท่ากับ .607 รองลงมาได้แก่ การอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย บุคลิกภาพ มีค่าเท่ากับ .556 .524 ตามลำดับ ส่วนแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียน มีความสัมพันธ์น้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ .100 2. ปัจจัยระดับห้องเรียนได้แก่สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในชั้นเรียน พบว่า ปัจจัยระดับห้องเรียน ได้แก่ สิ่งแวดล้อมและบรรยากาศในชั้นเรียนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับทักษะชีวิตอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .585 .487 ตามลำดับ 3. สมการพยากรณ์ปัจจัยที่สัมพันธ์กับทักษะชีวิต สมการพยากรณ์ ขั้น Null Model ดังนี้ Within – unit Model : SKILLij = 3.636 + eij Between – unit Model : b01 = 3.842 + U0j สมการพยากรณ์ ขั้น Simple Model ดังนี้ Within – unit Mode : SKILLij = 3.842 + 0.416SELF + 0.261ACHI + 0.047PER Between – unit Model : b01 = 3.842 + U0j bSELF = 0.416 + U0j bACHI = 0.261 + U0j bPER = 0.047 + U0j สมการในรูปคะแนนมาตรฐาน : ZSKILL,= 0.391USELF + 0.039UACHI + 0.219UPER สมการพยากรณ์ ขั้น Hypothetical Model ดังนี้ Within – unit Model : SKILLij = 3.842 + 0.416SELF + 0.261ACHI + 0.047PER Between – unit Model : b01 = 3.842 + 0.279ENVI + 0.063CLASS bSELF = 0.416 + 0.448ENVI + 0.302CLASS bACHI = 0.261 + 0.478ENVI + 0.318CLASS bPER = 0.047+ 0.880ENVI + 0.033CLASS สมการในรูปคะแนนมาตรฐาน : ZSKILL, = 0.625UENVI + 0.534UCLASSen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT200.58 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX861.91 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1348.9 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2709.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3840.36 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4855.31 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5280.35 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT248.4 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER183.25 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE293.29 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.