Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพร ศุทธากรณ์-
dc.contributor.authorธนิดา อนุรักษ์en_US
dc.date.accessioned2016-12-08T04:45:11Z-
dc.date.available2016-12-08T04:45:11Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39694-
dc.description.abstractThe quality of drinking water in schools located in urban and rural area may be different. This study was a cross sectional descriptive study. The objectives were to compare the microbiological quality of tab water before treating process in urban and rural schools, to study quality management of drinking water in urban and rural schools, and to compare the microbiological quality of drinking water after treating process in urban and rural schools. Water samples were collected form 11 urban schools and 7 rural schools in Chiang Mai province during November 2013 - February 2014. Interview from were used to collect data about general school characteristics, water storage and usage, and quality management of water. Data were an alyzed using descriptive statistics. Results of the study found that the microbiological quality of tab water was less than standard criteria 2out of 11 samples for urban schools and 3 out of 7 samples for rural schools. These due to the use of underground water contaminated with microbiological and the amount of free residual chlorine less than standard level. Regarding to the quality of drinking water, it was found that both types of school treated water by filtration. However, the assessment of microbiology quality of drinking water was less than standard criteria 4 out of 19 samples for urban schools and 3 out of 15 samples for rural schools. The contamination of coli form bacteria was found in the samples. These findings were due to the use of ground water as source of drinking water and the lack of adequate management of the water filters and the use of untreated microbiological filter system. The results of this study indicate that there are problems of quality of drinking water in schools located both in urban and rural areas. These need to be solved in order to prevent water borne diseases. The procedures are including surveillance of water supply for drinking water, management of water filtration with microbiological filter system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectคุณภาพen_US
dc.subjectจุลชีววิทยาen_US
dc.subjectน้ำดื่มen_US
dc.titleคุณภาพด้านจุลชีววิทยาของน้ำดื่มโรงเรียนในเขตเมือง และเขตชนบทจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeMicrobiological quality of drinking water in urban and rural schools, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc333.9122-
thailis.controlvocab.thashน้ำดื่ม -- จุลชีววิทยา-
thailis.controlvocab.thashจุลชีวิทยาทางอาหาร-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียน -- เชียงใหม่-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 333.9122 ธ153ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคุณภาพของน้ำดื่มในโรงเรียนอาจมีความแตกต่างกันตามพื้นที่ตั้งของโรงเรียนที่อยู่ในเขตเมือง และ ชนบท การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพด้านจุลชีววิทยาของน้ำประปาก่อนเข้าสู่กระบวนการปรับปรุงคุณภาพของโรงเรียนในเขตเมืองและเขตชนบทศึกษาระบบการจัดการคุณภาพน้ำดื่มของโรงเรียนและเพื่อเปรียบเทียบคุณภาพด้านจุลชีววิทยาของน้ำดื่มหลังผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพของโรงเรียนในเขตเมืองและเขตชนบทโดยเก็บตัวอย่างน้ำประปาและน้ำดื่มของโรงเรียนในเขตเมืองจำนวน 11 โรงเรียน และเขตชนบท 7 โรงเรียน ในจังหวัดเชียงใหม่ ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2556 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2557 และทำการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของโรงเรียน และ ข้อมูลการใช้ การเก็บ และ การจัดการคุณภาพน้ำโดยใช้แบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพด้านจุลชีววิทยาของตัวอย่างน้ำประปาของโรงเรียนในเขตเมือง จำนวน 11 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 2 ตัวอย่าง ในขณะที่ของโรงเรียนในเขตชนบท จำนวน 7 ตัวอย่าง ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 3 ตัวอย่าง เนื่องจากพบว่ามีการปนเปื้อนของเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และ พบปริมาณคลอรีนอิสระน้อยกว่าเกณฑ์มาตรฐาน นอกจากนี้ยังพบว่า โรงเรียนที่มีตัวอย่างน้ำประปาที่ไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานดังกล่าว มีการใช้น้ำประปาร่วมกับการใช้น้ำบาดาล ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการปนเปื้อนเชื้อโรคได้ สำหรับน้ำดื่มในโรงเรียนพบว่ามีการปรับปรุงคุณภาพน้ำด้วยการกรองทุกโรงเรียนอย่างไรก็ตามจากการตรวจคุณภาพด้านจุลชีววิทยาของตัวอย่างน้ำดื่มโรงเรียนในเขตเมือง พบไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 4 ตัวอย่าง จาก 19 ตัวอย่าง ในขณะที่ตัวอย่างน้ำดื่มของโรงเรียนในเขตชนบท พบไม่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานจำนวน 3 ตัวอย่าง จาก 15 ตัวอย่างโดยพบการ ปนเปื้อนของเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียเนื่องจากมีการใช้น้ำบาดาลร่วมกับน้ำประปาเป็นแหล่งน้ำดื่ม นอกจากนี้ยังพบว่า มีการใช้เครื่องกรองน้ำที่ขาดระบบกรองเชื้อจุลินทรีย์ และ ไส้กรองน้ำมีอายุการใช้งานนานเกิน 2 ปี ผลการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าคุณภาพของน้ำดื่มในโรงเรียนทั้งในเขตเมืองและชนบทยังมีปัญหาที่ควรต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไข เพื่อป้องกันการเกิดโรคติดต่อที่มีน้ำเป็นสื่อ จากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรค โดยทำการเฝ้าระวังคุณภาพแหล่งน้ำดื่ม การดูแลรักษาเครื่องกรองน้ำอย่างสม่ำเสมอ และการใช้เครื่องกรองน้ำที่มีระบบกรองเชื้อจุลินทรีย์en_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT176.48 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX297.41 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1318.81 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2429.03 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3284.32 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4367.56 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5315.49 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT164.69 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER557.62 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE297.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.