Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39692
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.advisorรสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.authorขนิษฐา พันธุ์ทองen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T04:38:49Z-
dc.date.available2016-12-08T04:38:49Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39692-
dc.description.abstractThe objective of this research is to study about working conditions, happiness of work including the problems which happened from work of Electricity Generating Authority of Thailand, Mae Moh District, Lampang Province. Sampling staffs of this study are to question 400 people consists of Mae Moh’s 160 Employees, and Mao Moh’s 240 staffs of Electricity Generating Authority. Data analysis was used described statistics. Happiness measurement was divided into four parts such as work economic, health, work welfare, and the work problems. Likert scale was used to analyze the data of happiness and the problems. The results of this study found that staffs of Mao Moh District mostly were male, average age 29 years old, graduated bachelors and up, married, Northern area, average income from 50,000 to 70,000 Baht. Personal diseases were hypercholesterolemia and blood pressure. Most of them did not take exercise, but smoked cigarettes and drank alcohols. Work shift of Electricity Generating Authority of Thailand, Mae Moh District was average 11-year experiences. They worked every day from Monday to Friday. Someone who had technical position 5-7 levels could use reflected waistcoat for security. Most of them were provided money welfare for helping children and delivering baby. They could get equal bonus. Work happiness was medium. Health was number one such as no personal diseases and illness from work. Next was working condition because there were good activities and relationship among colleagues including security tools for work. Sampling group had medium problem of work such as existing work was not suitable for qualification of study including low growing and progressing. Sampling group of Mao Moh’s electricity generating, most of staffs were male average 36 years old, graduated bachelor degree, married, Northern area, average salary from 10,000 to 30,000 Baht. They did not have personal diseases. They did not take exercise but smoked cigarettes. Working duration at Electricity Generating Authority of Thailand, Mao Moh District average nine years experiences which worked as shift. There was a position of engineer that 2-4 employees position levels and employees 5-7 levels. Sample group satisfied to work highly which number one was work because they were safe to work and receive trust of work. Next variable was health because food Consumption was enough five categories and no personal diseases. Sample group had problems of low level work such as low income including low growing and progressing.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความสุขen_US
dc.subjectการทำงานen_US
dc.subjectพนักงานen_US
dc.subjectการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยen_US
dc.titleความสุขในการทำงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแม่เมาะ จังหวัดลำปางen_US
dc.title.alternativeHappiness at work of Electricity Generating Authority of Thailand Mae Moh’s employees, Lampang Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.31422-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashความสุข-
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย -- พนักงาน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.31422 ข153ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการทำงาน ระดับความสุขในการทำงาน ตลอดจนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการทำงานของพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยแม่เมาะ จังหวัดลำปาง โดยการสอบถามพนักงานกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ซึ่งประกอบด้วย กลุ่มตัวอย่างที่ทำงานเหมืองแม่เมาะจำนวน 160 ราย และกลุ่มตัวอย่างที่ทำงานโรงไฟฟ้าแม่เมาะจำนวน 240 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา ส่วนการวัดระดับความสุขแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านการทำงาน ด้านสุขภาพอนามัย ด้านสวัสดิการที่ได้รับ และปัญหาที่เกิดจากการทำงาน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการให้น้ำหนักระดับความสุขและระดับของปัญหาโดยใช้ ลิเคิร์ท สเกล ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างพนักงานสังกัดเหมืองแม่เมาะ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 39 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีขึ้นไป สถานภาพสมรส มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคเหนือ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 50,000-70,000 บาท มีโรคประจำตัว คือ ไขมันในเส้นเลือดสูงและความดันโลหิต ส่วนใหญ่ไม่ออกกำลังกาย แต่สูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอล์ มีระยะเวลาการทำงานกับ กฟผ. แม่เมาะเฉลี่ย 11 ปี ทำงานทุกวันทำการของราชการ (จันทร์-ศุกร์) มีตำแหน่งงานเป็นช่าง (ช.) ระดับตำแหน่งเป็นพนักงานปฏิบัติการระดับ 5-7 ใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย คือ เสื้อกั๊กสะท้อนแสง ส่วนใหญ่ได้รับสวัสดิการเงินช่วยเหลือบุตรและค่าคลอดบุตรและการได้รับเงินเพิ่มพิเศษสำหรับผู้ทำงานเป็นกะในจำนวนที่เท่ากัน กลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการทำงานระดับปานกลาง โดยลำดับ 1 คือ ด้านสุขภาพอนามัย ซึ่งได้แก่ การไม่มีโรคประจำตัวและการไม่เจ็บป่วยจากการทำงาน รองลงมา คือ ด้านการทำงาน ซึ่งได้แก่ การมีกิจกรรมและความสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงาน รวมถึงการมีอุปกรณ์ใช้เพื่อความปลอดภัยในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาในการทำงานระดับปานกลาง เช่น งานที่ทำไม่เหมาะสมกับวุฒิการศึกษา รวมถึงการเติบโตและความก้าวหน้าทางสายงานอยู่ในระดับต่ำ กลุ่มตัวอย่างพนักงานสังกัดโรงไฟฟ้าแม่เมาะ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 36 ปี จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคเหนือ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000-30,000 บาท ส่วนใหญ่ไม่มีโรคประจำตัว ไม่ออกกำลังกาย แต่สูบบุหรี่ และดื่มแอลกอฮอล์ มีระยะเวลาการทำงานกับ กฟผ. แม่เมาะเฉลี่ย 9 ปี ทำงานแบบเป็นกะ มีตำแหน่งงานเป็นวิศวกร (วศ.) ระดับตำแหน่งเป็นพนักงานปฏิบัติการระดับ 2-4 และพนักงานปฏิบัติการระดับ 5-7 ใช้อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัย คือ เสื้อกั๊กสะท้อน ส่วนใหญ่ได้รับสวัสดิการเงินช่วยเหลือบุตรและค่าคลอดบุตรมากกว่าการได้รับเงินเพิ่มพิเศษสำหรับผู้ทำงานเป็นกะ กลุ่มตัวอย่างมีความสุขในการทำงานระดับมาก โดยลำดับ 1 คือด้านการทำงาน ได้แก่ การมีความปลอดภัยในการทำงานและการได้รับความไว้วางใจในการทำงาน รองลงมาคือด้านสุขภาพอนามัย ซึ่งได้แก่ การได้บริโภคอาหารครบ 5 หมู่ และการไม่มีโรคประจำตัว กลุ่มตัวอย่างมีปัญหาในการทำงานระดับน้อย เช่น รายได้ที่ได้รับค่อนข้างน้อย รวมถึงการเติบโตและความก้าวหน้าทางสายงานอยู่ในระดับต่ำen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT246.27 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX421.13 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1194.88 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2469.24 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3355.01 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4890.05 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5222.39 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT243.48 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER407.48 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE347.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.