Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชีพ พุทธประเสริฐ-
dc.contributor.advisorปรารถนา โกวิทยางกูร-
dc.contributor.authorเพ็ญศรี รัตตนิทัศน์en_US
dc.date.accessioned2016-12-07T05:25:25Z-
dc.date.available2016-12-07T05:25:25Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39682-
dc.description.abstractThis independent study was aimed to study the circumstances, problems and guideline of the academic management of Nong Pa Krang Kindergarten School, Mueang District, Chiang Mai Province. The populations in this study were consisted of education institute administrators, teachers and education support personnel, totaling 18 persons. The tools used in this study focus group and in-depth interview in 2 aspects as follows: the curriculum and the use of curriculum, learning activity arrangement, library management, measurement and evaluation, education supervision and education insurance. The data gained was then summarized into each issue, and the result of workshop was analyzed in the descriptive manner and presented in essay. The outputs of the study found that the circumstances of the academic management of Nong Pa Krang Kindergarten School were as follows: In light of the curriculum and the use of curriculum, it has been continuously improved to be in accordance with the core curriculum of the year 2008 by relying on the process that involves all concerned parties. The problem was that the local knowledge and wisdom are not integrated into the general subjects and occupational subjects. It is suggested that there should be a workshop to develop the curriculum on continuous basis. In light of learning activity arrangement, the activity was arranged in accordance with the potential of the learners and was integrated the local wisdom and local learning resources into the classroom teaching. The problem was that teachers do not possess a multitude of teaching technique. It is suggested that there should be a training to promote various learner-centered teaching techniques. In light of library management, the tasks were assigned to responsible person in form of committees who did not directly graduate from the library sciences. They fail to understand the library system and most of the books are folktales and cartoons. The problem was that teachers are already burdened with teaching as their regular job; they cannot carry out the special assignment for all day long. It is suggested that more teachers who directly graduated from the library sciences should be recruited to unburden the responsibility of the library teacher. In light of measurement and evaluation, the school appointed the chief of Measurement and Evaluation Division, Commission of Desirable Characteristics Evaluation, and Developmental Activity Evaluation Commission. The measurement and evaluation was conducted in the levels of classroom, grade and school. The significant problem was that teachers still lack of knowledge and understanding in measurement and evaluation, and particularly, they lack of skills in making the test of thinking, analyzing and evaluating. It is suggested that the measurement and evaluation workshop should be arranged all the time. In light of the education supervision, the school has been using the friend-to-friend supervision. The orientation was conducted with the new teachers. The problem was that the supervision process is not various and there is no follow-up. It is suggested that training of supervision techniques should be continuously held every year. In light of education insurance, the school adhered to education insurance guideline of local administrative organization which is in accordance with the ministerial rule of the year 2010. They conducted the school standard. The problem was that teachers still lack of knowledge and understanding on education insurance. The projects/ activities did not abide by the plan. It is suggested that seminar on education insurance should be held in order to support the education evaluation from the external organization.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectงานวิชาการen_US
dc.subjectโรงเรียนอนุบาลen_US
dc.titleการจัดการงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมืองเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeAcademic affairs management of Nong Pa Krang Kindergarten School, Mueang Chiang Mai Districten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc371.2-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนอนุบาล -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา -- เมือง (เชียงใหม่)-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 371.2 พ538ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการจัดการงานวิชาการ สภาพปัญหาและแนวทางของการจัดการงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษา พนักงานครูและบุคลากรสนับสนุนการสอน จำนวน18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือแบบบันทึกผลสนทนากลุ่ม (Focus Group) และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) มีทั้งหมด 6 ด้าน ประกอบด้วย ด้านหลักสูตรและการใช้หลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การจัดงานห้องสมุด การวัดและประเมินผล การนิเทศการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา นำข้อมูลที่ได้ในการศึกษามาสรุปผลตามประเด็นและวิเคราะห์โดยการใช้สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะพรรณนาวิเคราะห์แล้วนำเสนอเป็นความเรียง ผลการศึกษาพบว่า สภาพการดำเนินงานการจัดการงานวิชาการของโรงเรียนอนุบาลหนองป่าครั่งมีดังนี้ ด้านหลักสูตรและการใช้หลักสูตร ได้ดำเนินการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางพุทธศักราช 2551 โดยใช้กระบวนการอย่างมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ปัญหาที่สำคัญคือไม่ได้บูรณาการสาระท้องถิ่นเข้าไปในกลุ่มสาระวิชา สาระกลุ่มการงานพื้นฐานอาชีพ ข้อเสนอแนะคือควรมีการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน ได้จัดการเรียนการสอนตามศักยภาพสมองของผู้เรียนและบูรณาการมีการนำแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นปราชญ์ชาวบ้านมาพัฒนาการเรียนการสอน ปัญหาที่สำคัญคือ ครูยังขาดเทคนิคกระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลาย ข้อเสนอแนะคือ ควรจัดการอบรมส่งเสริมเรื่องเทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านการจัดการงานห้องสมุด มีการมอบหมายให้มีผู้ที่รับผิดชอบในรูปคณะกรรมการ แต่ไม่ได้สำเร็จด้านบรรณารักษ์โดยตรง ไม่เข้าใจในการจัดระบบงานห้องสมุดอย่างแท้จริง หนังสือส่วนมากเป็นจำพวกนิทานและการ์ตูน ปัญหาที่สำคัญครูมีภาระงานด้านการสอนและโครงการพิเศษที่ได้รับมอบหมายไม่สามารถให้บริการตลอดวันได้ ข้อเสนอแนะคือ สรรหาหรือบรรจุครูที่สำเร็จด้านบรรณารักษ์โดยตรง หรือลดภาระงานครูที่ได้รับการแต่งตั้งดูแลงานห้องสมุด ด้านวัดและประเมินผล โรงเรียนได้มีการแต่งตั้งให้มีหัวหน้าวัดและประเมินผล คณะกรรมการวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ คณะกรรมการวัดและประเมินผลด้านกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การวัดและประเมินผลทั้งในระดับห้องเรียน ระดับชั้นเรียน ระดับโรงเรียน ปัญหาที่สำคัญคือครูยังขาดความรู้ความเข้าใจในการวัดและประเมินผลและจัดทำแบบทดสอบด้านการคิดวิเคราะห์และประเมินค่า ข้อเสนอแนะคือ ควรจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการด้านวัดและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ด้านนิเทศการศึกษา โรงเรียนได้มีการนิเทศโดยใช้การนิเทศแบบกัลยาณมิตรเพื่อนช่วยเพื่อนมีการปฐมนิเทศครูบรรจุใหม่ ปัญหาคือ กระบวนการนิเทศไม่หลากหลายและการติดตามไม่ต่อเนื่อง ข้อเสนอแนะคือ ควรจัดอบรมเรื่องเทคนิควิธีการการนิเทศอย่างต่อเนื่องทุกปี ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา โรงเรียนได้ยึดแนวทางการดำเนินงานตามคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสอดคล้องกับกฎกระทรวงพุทธศักราช 2553มีการจัดทำมาตรฐานของโรงเรียน ปัญหาที่สำคัญคือ ครูขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องของงานประกันคุณภาพทางการศึกษา โครงการ/กิจกรรมไม่ดำเนินตามแผน ข้อเสนอแนะคือ ควรจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องการประกันคุณภาพทางการศึกษาเพื่อรองรับการประเมินคุณภาพทางการศึกษาจากภายนอกen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT244.86 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX1.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdf CHAPTER 1166.72 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2571.48 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3157.11 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4204.01 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5250.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT251.62 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER563.27 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdf REFERENCE237.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.